วันที่ 6: ทูนบูมคัทเอาต์ไม้หัวสำคัญสุด
9:15am ล่าสุดเมื่อวานลงมือเรียน ทำ คัทเอาต์ มากขึ้นครับกับคอร์สอดัม แล้วก็ได้ทำชายกลางด้วย ช่วงนี้พยายามจะอ่านเล่ม nancy beiman กับ peter parr ครับ แล้วก็เล่มพื้นฐานอนิเมตกับริชาร์ด แล้วก็หยิบเล่ม performance from nancy มาด้วยครับตอนนี้ ล่าสุดผมทำ pose test ช่วงก่อนตัวละครเดินครับ ริกของอดัม
อันนี้เป็น pose test ก่อนครับ หาแค่ storytelling key หลักๆ ทำไปก็พยายามทบทวนถึง floursack jumping assignment พยายามบอกตัวเองเรื่อง process ขั้นตอนการทำงาน
อันนี้เป็นจังหวะ breakdown ที่เริ่มใส่เข้าไปครับ
ส่วนอันนี้เป็น อินบีทวีนที่เริ่มใส่เข้าไปที่ช่วงแรกสุดก่อนครับ จริงๆควรทำ breakdown ให้ครบก่อน (เหลืออีกอันที่เฟรม 19) ไล่ไปจากใหญ่ไปเล็ก process จะได้ structured หน่อยครับ ตอนทำอินบีก็เห็นความดีของการใช้ set motion kf ที่ว่ามันช่วยให้การเคลื่อนไหว smooth แล้วก็บางทีก็ช่วยคิดให้เราเหมือนกันว่าจะไปตรงไหนดี แต่ว่าแน่นอน เราต้อง adjust ต่อ แต่เหมือนเราได้ idea เพิ่มด้วย ซึ่งยัง remain solid shapes มันดีตรงนี้ครับ ดังนั้นก็ต้องทำควบคู่แหล่ะ เช่นการคิดถึง anticipation, forshortening, follow through หรือว่าการปรับเส้น deformer ให้เกิด asymmetry หรือว่า design ด้วยครับ พวกนี้เราต้องทำเอง as an animator!!! แล้วก็ครั้งนี้ไม่ได้ใช้ ไทม์ชาร์ตเลย ต่างจากตอนทำถุงแป้งโดดข้ามผาครับ
อันนี้งานไม้หัวโชว์ที่ทำล่าสุดเมื่อวานครับ สนุกดี ได้ explore ชายกลางไปด้วยครับตอนระหว่างทำงาน คิดไปก็อยากจะไปสก๊ตช์ในสกบเลยด้วยครับ แล้วก็ช่วงแรกเป็นชายเล็กนี่ก็ อยากจะทำเป็นริกครับใช่
ป.ล. เดี๋ยวต้องเรียนของ pedro เพิ่ม สลับสนุกๆแล้วก็ ลงสนาม ริกไม้หัว (หัวพืช! หัวคนด้วย!) อนิเมตไม้หัว เริ่มจากชายเล็ก เอาไปใช้ในงานชายกลางไม้หัวโชว์เลยด้วยครับใช่ ต้องลองทำไปเรื่อยๆครับ เรียนรู้จากการทำจริง handdrawn - cutout - mixed of the two ว่า process จะออกมาประมาณไหน งานออกมายังไง